หลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
จุดประสงค์การเรียนรู้กิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
๑.
เพื่อให้ลูกเสือมีความรู้ความสามารถ
ในทางวิชาการลูกเสือเพิ่มขึ้นจากที่เรียนมา ในระดับต้น คือ ลูกเสือตรี โท
เอก
๒.
เพื่อให้ลูกเสือได้มีความเข้าใจ
และฝึกฝนทักษะตนเองในแต่ละวิชาที่เรียนมาได้ดียิ่งขึ้น
๓.
เพื่อส่งเสริมให้ลูกเสือได้เรียนในวิชาที่ตนเองถนัด และสนใจเป็นพิเศษ
๔.
เพื่อให้ความซาบซึ้งในกิจการลูกเสือมากยิ่งขึ้น
๕.
เพื่อให้ลูกเสือได้นำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติ
และบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่สังคม
คำอธิบายรายวิชากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เพื่อให้ลูกเสือมีความรู้ความเข้าใจในทางวิชาการลูกเสือเพิ่มขึ้นจากที่เรียนมาในระดับต้น
คือ ลูกเสือตรี
โท เอก
มีความสามารถ
ฝึกฝนทักษะตนเองในรายวิชาที่ตนเองถนัด และสนใจเป็นพิเศษ
มีความซาบซึ้งในกิจการลูกเสือและนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติ
และบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ แก่สังคม
ตัวชี้วัด
ข้อที่
๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๑.๑
เป็นพลเมืองดีของชาติ
๑.๒
ธำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย
๑.๓
ศรัทธา ยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา
๑.๔
เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ข้อที่
๒ ซื่อสัตย์สุจริต
๒.๑
ปฏิบัติตรงกับความเป็นจริงต่อตนเองทั้งกาย วาจา ใจ
๒.๒
ปฏิบัติตรงกับความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งกาย วาจา ใจ
ข้อที่
๓ มีวินัย
๓.๑
ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม
ข้อที่
๔ ใฝ่เรียนรู้
๔.๑
ตั้งใจเพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม
๔.๒
แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม
สรุปเป็นองค์ความรู้และสามารถนำไปใช้ชีวิตประจำวันได้
ข้อที่
๕ อยู่อย่างพอเพียง
๕.๑
ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผลรอบคอบ มีคุณธรรม
๕.๒
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ข้อที่ ๖ มุ่งมั่นในการทำงาน
๖.๑
ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน
๖.๒
ทำงานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย
ข้อที่ ๗ รักความเป็นไทย
๗.๑
ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรมไทยและมีความกตัญญูกตเวที
๗.๒
เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
๗.๓
อนุรักษ์ และสืบทอดภูมิปัญญาไทย
ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ
๘.๑
ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน
๘.๒
เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชนและสังคม
หลักสูตรเครื่องหมายลูกเสือโลก
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เครื่องหมายลูกเสือโลก
เป็นรูปวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๔.๓
ซม. มีตราเครื่องหมาย เฟอร์-เดอร์
-รีส์
ล้อมรอบด้วยเชือกสีขาวเป็นรูปวงกลม ผูกเป็นเงื่อนพิรอดอยู่เบื้องล่าง
ซึ่งลูกเสือจะต้องสอบหัวข้อรายวิชาตามที่กำหนด
โรงเรียนได้จัดให้มีการเรียนทั้งหมด ๔๐ ชั่วโมง ดังนี้
๑.
กิจการลูกเสือ
๖ ชั่วโมง
๒.
ระเบียบแถว
๖ ชั่วโมง
๓.
คำปฏิญาณ กฎ คติพจน์
๓ ชั่วโมง
๔.
การกางเต็นท์
๓ ชั่วโมง
๕.
การบรรจุเครื่องหลัง
๑ ชั่วโมง
๖.
การก่อไฟ การปรุงอาหาร
๓ ชั่วโมง
๗.
แผนที่และเข็มทิศ
๔ ชั่วโมง
๘.
เงื่อนเบื้องต้น 10 เงื่อน
๔ ชั่วโมง
๙.
การปฐมพยาบาล
๓ ชั่วโมง
๑๐.
ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมลูกเสือ
๓ ชั่วโมง
ทบทวนและทดสอบ
๔ ชั่วโมง
รวม
๔๐
ชั่วโมง
หลักสูตรเครื่องหมายวิชาพิเศษ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
โรงเรียนจัดทำแผนการจัดกิจกรรมให้นักเรียนสามารถที่จะสอบเครื่องหมายวิชาพิเศษ
ได้ดังต่อไปนี้
๑. นักดาราศาสตร์
๒.
การจัดการค่าย
๓. ผู้พิทักษ์ป่า
๔.
นักเดินทางไกล
๕. หัวหน้าคนครัว
๖.
นักบุกเบิก
๗. นักสะกดรอย
๘.
นักธรรมชาติวิทยา
๙. นักผจญภัย
๑๐.
นักพิมพ์ดีด
๑๑. นักสะสม
๑๒.
นักกรีฑา
๑๓. บรรณารักษ์
๑๔.
นักว่ายน้ำ
เครื่องหมายสายยงยศลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ในภาคเรียนที่ ๒ ลูกเสือชั้น ม.๑
อาจได้รับสายยงยศได้ โดยจะต้อง
๑.
สอบได้เครื่องหมายลูกเสือโลก
๒. สอบได้วิชาพิเศษ
นักผจญภัย
๓.
สอบได้วิชาพิเศษอื่นที่กล่าวมาแล้ว อย่างน้อย ๒ วิชา
๔. ต้องถักสายยงยศ
(สายหนัง)
ได้ด้วยตัวเอง
โครงสร้างกิจกรรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ (เครื่องหมายลูกเสือโลก)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่องที่ |
สาระการเรียนรู้ |
ช.ม. |
หมายเหตุ |
๑ |
กิจการลูกเสือ
|
๖ |
|
|
กิจการของคณะลูกเสือแห่งชาติ
-
ประวัติความเป็นมา วัตถุประสงค์
-
คณะกรรมการบริหารงานลูกเสือ
-
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือและผู้ตรวจการลูกเสือ |
|
|
|
กิจการของคณะลูกเสือโลกและความสัมพันธ์ระหว่าง
ลูกเสือนานาชาติ
-
องค์การลูกเสือโลก
-
สมัชชาลูกเสือ
-
คณะกรรมการลูกเสือโลก
-
ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติ |
|
|
|
บทบาทของตนเอง
-
กิจกรรมที่เหมาะสม
-
ลูกเสือกับการพัฒนาชุมชน
-
การสำรวจชุมชน |
|
|
๒ |
คำปฏิญาณ กฎ คติพจน์
|
๓ |
|
|
คำปฏิญาณ กฎ คติพจน์ของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
-
คำปฏิญาณ และ คติพจน์
-
กฎของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ข้อที่ ๑-๕
-
กฎของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ข้อที่ ๖-๑๐
|
|
|
๓ |
ระเบียบแถว
|
๖ |
|
|
- การฝึกเป็นบุคคลท่ามือเปล่า
- การฝึกเป็นบุคคลท่าถือไม้ง่าม
- การฝึกเป็นหมู่และกอง
- สัญญาณนกหวีด สัญญาณมือในการเรียกแถว
-
สัญญาณนกหวีด
-
สัญญาณมือ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
๔ |
การกางเต็นท์
|
๓ |
|
|
-
การกางและรื้อเต็นท์ ๕ ชาย
-
การกางและรื้อเต็นท์สำเร็จรูป
-
การจัดเก็บเต็นท์เพื่อเดินทาง(ต่อ) |
|
|
๕ |
การบรรจุเครื่องหลัง
|
๑ |
|
|
- การบรรจุเครื่องหลัง
|
|
|
๖ |
การก่อไฟและการปรุงอาหาร
|
๓ |
|
|
- การก่อไฟ และการปรุงอาหาร
-
การก่อไฟ
-
การปรุงอาหาร
-
การหุงข้าว |
|
|
๗ |
แผนที่และเข็มทิศ
|
๔ |
|
|
แผนที่
-
ความหมายของแผนที่
-
วิธีการอ่านแผนที่ ระยะทาง |
|
|
|
เข็มทิศ
-
การสังเกตจากธรรมชาติ
-
การใช้เข็มทิศ
-
การสังเกตดวงดาว
|
|
|
๘ |
เงื่อนเบื้องต้น ๑๐ เงื่อน
|
๔ |
|
|
-
เงื่อนพิรอด เงื่อนขัดสมาธิ
-
เงื่อนตะกรุดเบ็ด เงื่อนบ่วงสายธนู เงื่อนผูกกระหวัดไม้
|
|
|
|
-
เงื่อนประมง เงื่อนผูกซุง
-
เงื่อนผูกรั้ง เงื่อนปมตาไก่ |
|
|
|
การผูกแน่น
-
ผูกประกบ
-
ผูกทแยง
-
ผูกกากบาท |
|
|
๙ |
การปฐมพยาบาล
|
๓ |
|
|
การปฐมพยาบาล
-
การปฐมพยาบาลทั่วไป
-
การปฐมพยาบาลคนเป็นลม ข้อต่อเคล็ด แพลง
-
การปฐมพยาบาลแผลจากสัตว์มีพิษกัดต่อย
|
|
|
๑๐ |
หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรม
|
๒ |
|
|
หลักความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมการบุกเบิก
-
ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมการผจญภัย
|
|
|
|